ตำบลหัวรอปรากฏในแผนที่พิชัยสงครามสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ว่า “เตาไห”

     เป็นหนึ่งใน 26 ชุมชนโบราณทางทิศเหนือของเมืองพิษณุโลก และปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระมหินทราธิราชว่า “ตำบลเตาไห”

เพิ่มเติม

ศูนย์การเรียนรู้สู่วิถีพอเพียงตำบลหัวรอ

สถานที่พักผ่อน

    เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อยใจให้ประชาชนได้เข้าเยี่ยมชม และเรียนรู้วิธีพอเพียงจากศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้ 

เพิ่มเติม

อาหารและสินค้าชุมชน

     ภายในศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้ นอกจากจะมีสถานที่พักผ่อนแล้ว ยังมีอาหารเลิศรสและสินค้าจากชุมชน ที่ให้ผู้เยี่ยมชมได้ลิ้มลองรสชาติ และการได้เลือกซื้อสินค้าของชุมชนหัวรอ

เพิ่มเติม

    ข่าวสารล่าสุด (News)

ออกตรวจเยี่ยม ด่านชุมชน

นางปิ่นเพชร พูลสวัสดิ์ กำนันตำบลหัวรอ สารวัตรกำนัน แพทย์ประจำตำบล นำเครื่องดื่มมอบให้กับด่านชุมชน ออกตรวจเยี่ย

งานร่วมทำบุญส่งท้ายปีเก่าต่อนรับปีใหม่

นางปิ่นเพชร พูลสวัสดิ์ กำนันตำบลหัวรอ ร่วมทำบุญส่งท้ายปีเก่าต่อนรับปีใหม่ และตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง

จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบการศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น

กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตรวิชา การทำดินทรีย์

 กิจกรรมเด่น

 สถานที่น่าสนใจตำบลหัวรอ

วัดตาปะขาวหาย

วัดตาปะขาวหาย

วัดตาปะขาวหาย เดิมเรียกว่า วัดเตาไห เพราะเป็นหมู่บ้านที่ปั้นเตาและไห ผลิตส่งออกขายภายในประเทศและต่างประเทศ บ้างเรียกว่า วัดชีปะขาวหาย หรือ วัดชีผ้าขาวหาย

วัดโพธิญาณ

วัดโพธิญาณ

วัดโพธิญาณ ตั้งอยู่ที่บ้านหัวรอ เลขที่ ๔๕ ถนนสุพรรณกัลยา หมู่ที่ ๔ ตำบลหัวรอ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก วัดโพธิญาณ (ชาวบ้านมักเรียนสั้น ๆ ว่าวัดโพธิ์)

 ยอดฮิต เมนูติดใจ

ชมรมกํานันผู้ใหญ่บ้านตําบลหัวรอ

ชื่อ “หัวรอ” เดิมสันนิษฐานว่าในพื้นที่ หมู่ที่ ๔ บ้านตาปะขาวหาย (ปัจจุบัน) ในช่วงที่แม่น้ำน่านไหลผ่าน กระแสน้ำได้โค้งกัดเซาะตลิ่งพังเสียหาย ชาวบ้านจึงได้นำเสาไม้มาปักกันดินริมตลิ่งพังทลาย ซึ่งเสาไม้นี้เรียกตามภาษาพื้นบ้านว่า “หลักรอ” หรือ “เสารอ” จึงมีการตั้งชื่อตำบลอย่างเป็นทางการว่า “บ้านศีรษะรอ” ซึ่งยังคงปรากฏหลักฐานทางราชการอยู่ในโฉนดที่ดินฉบับเก่า ในขณะที่ประชาชนทั่วไปยังคงนิยมเรียกชื่อ “ตำบลหัวรอ” ตามความคุ้นเคยอย่างเดิม

Engine by shopup.com